บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 16


วันอังคารที่ 25 กันยายน 2555  

-เขียนแสดงความคิดเห็นข้อดีและข้อเสียเกี่ยวกับการใช้แท๊บเล๊ตของนักเรียนชั้น ป.และในระดับเด็กปฐมวัย
-สรุปเนื้อหาของรายวิชาที่ได้เรียน



บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 15

วันอังคารที่ 18 กันยายน 2555 
จัดกิจกรรมให้เด็กอนุบาล โรงเรียนสาธิตจันทรเกษม
มีด้วยกันทั้งหมด 9 ฐานดังนี้     
     1.ฐานขนมปังปิ่ง
     2.ฐานขนมต้ม
     3.ฐานเกี๊ยวทอด
     4.ฐานลูกโป่ง
     5.ฐานการเดินทางของเสียง
     6.ฐานระดับน้ำมีผลต่อระดับเสียง
     7.ฐานแม่เหล็กมหาสนุก
     8.ฐานลูกข่างเปลี่ยนสี
     9.ฐานแม่เหล็กมหัจรรย์

ฐานของกลุ่มดิฉันคือ ฐานลูกข่างเปลี่ยนสี
ขั้นตอนการทำ ฐานลูกข่างเปลี่ยนสี
1.เราจะนำกระดาษที่ตัดเป็นวงกลม และพร้อมเจาะรูตรงกลาง
2.เราให้เด็กๆระบายสีให้ตามที่เรากำหนดไว้
3.เด็กๆระบายสีเสร็จแล้ว เราจะเอากระดาษที่เด็กระบายสี มาใส่ไม้ตรงกลาง เพื่อเป็นที่จับเวลาจะหมุน
4.เด็กๆจะได้ลูกข่างเปลี่ยนสีกลับบ้าน

สิ่่งที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน 
                ตาของเราไม่สามารถสังเกตเห็นซี่ล้อรถหรือลายบนลูกข่างที่กำลังหมุนได้ เนื่องจากเปลี่ยนภาพและสีเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว เราจึงเห็นสีบนลูกข่างเป็นสีผสม เพราะตาของเราไม่สามารถแยกแยะสีได้ เมื่อหมุนลูกข่างสีเขียวแดงเร็ว ๆ ตาของเราจะมองเห็นเป็นสีเหลือง เป็นต้น


ผลจากการทดลอง
                บรรยากาศในสัปดาห์นี้ เด็ก ๆ ทุกระดับชั้น สนุกกับการประดิษฐ์ลูกข่างด้วยตนเอง มีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการจากเด็กไม่ว่าจะเป็นการลงสี ภาพวาดที่เด็ก ๆ ต่อเติมลงไป ไม่ซ้ำกัน เด็ก ๆ ได้ทดลองหมุนลูกข่างของตนเองอย่างสนุกสนาน พร้อมวิเคราะห์ หมุนช้า และเกิดอะไรขึ้น แล้วทุกคนก็ได้ของเล่นชิ้นใหม่นำกลับไปอวดคุณพ่อ คุณแม่  แถมได้ความรู้การเกิดสีผสมของแต่ละสีด้วย


ความสำคัญของสี
แม่สีมีทั้งหมด 3 สี ได้แก่ แดง , น้ำเงิน และเหลือง ที่เป็นแม่สี เพราะว่าไม่มีสีอื่นๆ มากกว่า 1 มาผสมกันจนได้ 3 สีนี้ เช่น สีม่วงไม่ใช่แม่สี เพราะได้จากการผสมสีน้ำเงินและแดงในสัดส่วนที่เท่ากัน 

การมองเห็นสีหรือวัตถุนั้นอย่างน้อยต้องมีองค์ประกอบ 3 อย่าง คือ
1. วัตถุ ซึ่งก็แน่นอนไม่มีวัตถุก็ไม่รู้จะเห็นอะไร
2. แสง ถึงจะมีของ แต่ไม่เปิดไฟก็คงจะมองไม่เห็น
3. ตา มีทั้งวัตถุและแสง แต่คนมองดันตาบอดซะนี่ ก็คงจะไม่เห็นเช่นกัน








บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 14

วันอังคารที่ 11 กันยายน 2555 
- สนทนากันเรื่องจะไปจัดประสบการณ์ ให้น้องที่โรงเรียนสาธิต
แนวคิด
     เสียง เกิดจากการสั่นของวัตถุ
     แม่เหล็ก เป็นของแข็งที่สามารถดูดโลหะได้ มีขั่วต่างกัน จากแนวคิดนี้จะนำไปประดิษฐ์ไดนาโม ไฟฟ้า
     ขนมต้ม แป้งขนมต้มดิบ เมื่อใส่ลงในน้ำเดือด แป้งจะขยายตัว เพราะมีอากาศเอาไปแทนที่ แนวคิดนี้นำไปประดิษฐ์ห่วงยาง ประกอบอาหาร ล้อรถ
- การจัดประสบการณ์ที่เกี่ยวกับวิทยาศาตร์
     กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ให้เด็กมีประสบการณ์ในเนื้อหาสาระนั้นๆ(ประสาทสัมผัสทั้ง 5)
     กิจกรรมกลางแจ้ง ใช้พลังงาน ทำให้เหนื่อยและหิวน้ำ(วิทย์เรื่องพลังงาน)
     เกมการศึกษา ได้สาระทางวิทยาศาตร์ ซึ่งจะใส่ไปในตัวเกม
- อ.ชี้แจงว่าในวันจัดกิจกรรมต้องเอาอะไรไปบ้าง แล้วต้องทำอะไร
     การจัดสถานที่
     การเตรียมอุปกรณ์
     การทำป้ายชื่อฐาน ป้ายชื่อน้อง
- พูดคุยเรื่องบล็อก




บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 13

วันอังคารที่ 4 กันยายน 2555
อาจารย์ แนะนำเทคนิควิธีในการจัดป้ายนิเทศ การจัดทำบอร์ดดอกไม้ ที่นักศึกษานำมาส่งแต่ละกลุ่ม และร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดป้ายนิเทศ




*งานที่สั่ง
  -จับกลุ่ม 4คน ได้หัวข้อ แม่เหล็ก
  - ส่งสมุดเล่มเล็ก(ขั้นตอนการทำดอกไม้)
  - สื่อ


บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 12

วันอังคารที่ 28 สิงหาคม 2555




บันทึกการอบรมการสร้างสื่่อประยุกต์


วันเสาร์ที่ 25 สิงหาคม 2555 และ วันอาทิตย์ที่ 26 สิงหาคม 2555 









บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 11

วันอังคารที่ 21 สิงหาคม 2555

อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม 4 กลุ่มแล้วให้แต่ละกลุ่มสนทนาเกี่ยวกับหนังสือที่อาจารย์แจก
แล้วสรุปเป็นหมายแม็บ






บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 10

วันอังคารที่ 14 สิงหาคม 2555


ไม่มีการเรียนการสอน


** สอนชดเชยในวันอาทิตย์ที่ 26 สิงหาคม 2555**




บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 9

วันอังคารที่ 7 สิงหาคม 2555

ไม่มีการเรียนการสอน

** สอนชดเชยในวันเสาร์ที่ 25 สิงหาคม 2555**



บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 8

 วันอังคารที่ 31 กรกฏาคม พ.ศ.2555


*สอบกลางภาค*


บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 7

วันอังคารที่ 24 กรกฎาคม 2555

- คุยเรื่องสัปดาห์วิทยาศาตร์- วันที่ 18 สิงหาคม มีงานวิทยาศาสตร์ที่(ไบเทคบางนา)
วิทยาศาสตร์แบ่งได้เป็น
1 สิ่งที่เป็นธรรมชาติ


สถานที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
1 ไบเทค (บางนา)
2 ท้องฟ้าจำลอง


2 สิ่งที่เป็นกายภาพ
3 พิพิทธภัณฑ์

การเรียนรู้
1 ให้ดูเฉยๆ
2 ให้เด็กได้มีส่วนร่วม


ประโยชน์

- ประสบการณ์ตรง      
-สนุกสนาน
-เพลิดเพลิน                 

-ตื้นเต้น
-อิสระ                        

-ได้ความรู้
-เกิดความสงสัย          
-คำถาม
-ความรู้                       

-อยากรู้ 
-แสวงหาและใฝ่รู้


-อาจารย์ได้มีการยกตัวอย่างในการคิดเชิงวิเราะห์ 
ช้าง
1 ลักษณะ
2  ที่อยู่
3 อาหาร
4 ประโยชน์
5 การขยายพันธ์ 
6 อาชีพ
7 ข้อควรระวัง

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 6

วันอังคารที่  17  กรฎาคม พ.ศ. 2555


-นำเสนองานที่ต้องแก้ไขในสัปดาที่แล้ว





เป้าหมายของการทำของเล่น
1.การเล่นเป็นเครื่องมือที่ทำให้เด็กได้เกิดการเรียนรู้
2.เด็กเรียนรู้ผ่านการเล่น
3.การเล่นทำให้มีการวางแผนและจัดลำดับอย่างมีขั้นตอน

การเล่นเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์
1.มีการสนทนาอภิปรายซักถาม
2.เด็กได้สัมผัสจริงจากประสาทสัมผัสทั้ง 5

                                                        แบ่งกลุ่มทำงานหัวข้อ " ผัก "



บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 5

วันอังคารที่  10  กรกฎาคม  พ.ศ. 2555

วันนี้อาจารย์ให้นำเสนองานคู่เกี่ยวกับสื่อวิทยาศาสตร์

1.งานแรกคือของเล่นที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ที่เด็กสามารถเล่นได้เอง

ขั้นตอนการทำกลองพ่อแม่ลูก

-นำกระป๋องถั่วที่มีความแข็งมา 4 กระป๋อง
-ใส่น้ำในแต่ละกระป๋องให้มีระดับน้ำที่ไม่เท่ากัน
-นำลูกโป่งมาขึงบนส่วนบนของกระป๋อง 2 ชั้น
-ตกแต่งให้สวยงามตามจิตนาการ
-นำตะเกียบมา 1 คู่ และนำดินน้ำมันมาพันบนหัวของเกียบ(ไม้กลอง)















2.งานนี้เป็นของเล่นที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเด็กสามารถที่จะทำได้เอง

ขั้นตอนการทำวิ่งแข็งกันไหม

-เลือกรูปที่ตัวเองต้องการ (เป็นกระดาษร้อยปอนด์ของเก่า ที่เคยทำไปถ่ายเอกสาร)
-เลือกรูปที่ตัวเองชอบแล้ว นำมาระบายสีให้สวยงาม-นำเอาหลอดมาตัดให้สั้นพอเหมาะ แล้วเอากาวมาทาหลอดแล้วติดไว้ข้างหลังรูปภาพที่เราระเบียบเอาไว
-นำด้ายมาแบ่งให้เป็น2เส้นเท่าๆๆกัน แล้วมัดปมไว้ ทั้ง 2 เส้น 
-นำด้ายมาร้อยให้อยุ่ข้างในหลอด ทั้ง2 เส้น แล้วก็มัดปมไว้ เพื่อไม่ให้มันหล่น
-เราจะเอารูปภาพอะไรก็ได้ ไม่ใช่สัตว์ อาจจะเป็นรูปหน้าคน สิ่งของต่างๆ  เพื่อความแตกต่างกัน






บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 4

วันอังคารที่ 3 กรกฎาคม 2555
- ดู VDO เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์เรื่อง มหัศจรรย์ของน้ำ
      ประโยชน์จากการดูคลิป
(1) สาระในการรู้ (เนื้อหา)
(2) เทคนิคในการนำเสนอ (ภาพ ตัวอย่าง)
(3) การจัดลำดับเรื่องราว (จากใหญ่ไปเล็ก)
(4) แนวคิดข้อคิด (น้ำเป็นสิ่งที่จำเป็นต่อชีวิต)
 

- ร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับ VDO มหัศจรรย์ของน้ำ
- ส่งงานมายแม็บตามหน่วยที่โรงเรียนสาธิต




งาน 

- ให้ทำสื่อวิทยาศาตร์ทีเด็กเลนได้ในมุมวิทยาศาตร์
 - ของเล่นวิทยาศาตร์ที่เด็กสามารถทำได้

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 3

วันอังคารที่ 26 มิถุนายน 2555

- อาจารย์ให้ส่งงานที่สั่งเมื่อคาบที่แล้ว


        - ทฤษฎีของเพียเจย์
         1.ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว(Sensori-Motor  Stage)ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี  พฤติกรรมของเด็กในวัยนี้ขึ้นอยู่กับการเคลื่อนไหวเป็นส่วนใหญ่  เช่น  การไขว่คว้า  การเคลื่อนไหว  การมอง  การดู         

        2.ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด (Preoperational  Stage)  ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่อายุ 2-7 ปี สามารถจะโยงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์  หรือมากกว่ามาเป็นเหตุผลเกี่ยวโยงซึ่งกันและกัน  แต่เหตุผลของเด็กวัยนี้ยังมีขอบเขตจำกัดอยู่  เพราะเด็กยังคงยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง  คือถือความคิดตนเองเป็นใหญ่  และมองไม่เห็นเหตุผลของผู้อื่น        
        3.ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม (Concrete  Operation  Stage)  ขั้นนี้จะเริ่มจากอายุ 7-11 ปี พัฒนาการทางด้านสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยนี้สามารถสร้างกฎเกณฑ์และตั้งเกณฑ์ในการแบ่งสิ่งแวดล้อมออกเป็นหมวดหมู่ได้  เด็กวัยนี้สามารถที่จะเข้าใจเหตุผล  รู้จักการแก้ปัญหาสิ่งต่างๆ  ที่เป็นรูปธรรมได้  สามารถที่จะเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องความคงตัวของสิ่งต่างๆ  โดยที่เด็กเข้าใจว่าของแข็งหรือของเหลวจำนวนหนึ่งแม้ว่าจะเปลี่ยนรูปร่างไปก็ยังมีน้ำหนัก  หรือปริมาตรเท่าเดิม       
  
   - ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์          
1.ทักษะการกำหนดละควบคุมตัวแปร          
2.ทักษะการคำนวณ          
3.ทักษะการจัดและสื่อความหมายข้อมูล          
4.ทักษะการจำแนกประเภท          
5.ทักษะการตั้งสมมติฐาน
6.ทักษะการตีความหมายข้อมูล
7.ทักษะการทดลอง
8.ทักษะการกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ

9.ทักษะการพยากรณ์
10.ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล          
11.ทักษะการวัด          
12.ทักษะการสังเกต          
13.ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติกับมิติ และมิติกับเวลา

งาน
         แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน เพื่อที่จะจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาตร์ ให้น้องที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 2

วันอังคารที่ 19 มิถุนายน พ.ศ.2555

-อาจารย์ให้นักศึกษาเขียนความคาดหวังในรายวิชานี้




การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

(1) การจัดประสบการณ์ > เทคนิค> หลักการจัดประสบการณ์
> ทฤษฎี > กระบวนการจัด > สื่อ/จัดสภาพแวดล้อมสนับสนุน
ในการจัดประสบการณ์ > การประเมินผล
(2) วิทยาศาสตร์ > สาระทางวิทยาศสสตร์ > ทักษะทางวิทยาศาสตร์
(3) เด็กปฐมวัย > พัฒนาการ > วิธีการเรียนรู้

ทักษะทางวิทยาศาสตร์

- ทักษะทางการสังเกต
- ทักษะทางจำแนกประเภท 
- ทักษะการวัด
- ทักษะการหาความสัมพันธ์เกี่ยวกับสเปส
- ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล
- ทักษะการจักกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
- ทักษะการพยากรณ์ 
- ทักษะการคำนวณ


สาระทางวิทยาศาสตร์

- ตัวฉัน
- ธรรมชาติ
- บุคคล
- สถานที่

-พัฒนาการ คือ การเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาเป็นระบบอย่างต่อเนื่อง
- การพัฒนาเกิดขึ้นได้ คือ การเรียนรู้

*****งาน

-อาจารย์ให้ไปดูพัฒนาการทางสติปัญญา
-อาจารย์ให้จับกลุ่มกัน 3 - 4 คน ให้ช่วยกันคิด 1 เรื่องและแตกเนื้อหาออกมา

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 1

วันอังคารที่ 12 มิถุนายน พ.ศ.2555

อาจารย์สั่งงานไว้ดังนี้
- ลิ้งค์มาตรฐานวิทยาศาสตร์ของ สสวท.
- ลิ้งค์รายชื่อเพื่อนในบล็อ
- ดูโทรทัศน์ครูเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์  (เรื่องนึงซ้ำได้ไม่เกิน 3 คน)

- ทำบล็อควิทยาศาสตร์